ลบ
แก้ไข
ครัวไทยสู่ครัวโลก กระทรวงวิทย์ฯ พร้อมตั้ง “ศูนย์รสชาติอาหารไทย”
กระทรวงวิทย์ฯ พร้อมตั้ง “ศูนย์รสชาติอาหารไทย” เพื่อส่งผ่านรสชาติความอร่อยจากครัวไทยสู่ครัวโลก
น าร่องด้วย 3 เมนูสุดฮิต - ต้มย ากุ้ง ผัดไทย และแกงมัสมั่น

ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) จัดงานเปิดตัว “ศูนย์รสชาติ
อาหารไทย (Thai delicious)” เพื่อสร้างเอกลักษณ์และมาตรฐานของรสชาติอาหารไทยให้ได้คุณภาพ ไม่ผิดเพี้ยนไปจากต ารับ
ดั้งเดิม ภายใต้แนวคิด “อาหารไทยไม่ว่าครัวไหน ก็ต้องมีรสชาติไทยเดียวกัน” พร้อมส่งผ่านรสชาติความอร่อยจากครัวไทยสู่ครัวโลก
อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออกวัตถุดิบส าหรับเป็นส่วนผสมของอาหารไทยได้มากขึ้น สอดคล้องกับ
นโยบายรัฐบาลที่มุ่งเป้าให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารของโลก ในโครงการ “นวัตกรรมครัวไทยสู่ครัวโลก”

นายวรวัจน์เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกล่าวว่า “อาหารไทยถือเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมใน
กว่า 93 ประเทศ และติด 1 ใน 4 อาหารยอดนิยมของโลก ซึ่งจะเห็นได้จากจ านวนร้านอาหารไทยที่กระจายอยู่มากกว่า 20,000 แห่ง
ทั่วโลก โดยในแต่ละปีร้านอาหารไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อปีมากกว่า 6 ล้านบาท ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจมากกว่า 120,000 ล้านบาท”
นายวรวัจน์ฯ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “ปัจจุบันพบว่าร้านอาหารไทยรวมถึงห้องอาหารไทยในโรงแรมในระดับ 4 และ 5 ดาวในต่างประเทศ
ต่างประสบปัญหาความผิดเพี้ยนของรสชาติอาหารไทยที่แตกต่างไปจากต ารับดั้งเดิม ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว วท. จึงได้ริเริ่มจัดตั้ง
“ศูนย์รสชาติอาหารไทย” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการส าคัญตามนโยบายรัฐบาลที่ต้องการสร้างความตระหนักใน “สูตรมาตรฐานรสชาติ
อาหารไทย” ให้ตรงความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และต้องมีรสชาติไม่ผิดเพี้ยนไปจากต ารับดั้งเดิมของไทย ซึ่งเป็นการน า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของตลาดต่างประเทศ โดยได้มอบหมายให้ สนช. เป็นผู้ด าเนินการบริหารจัดการครอบคลุมตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบ การแปรรูป การเพิ่ม
มูลค่าสินค้าแปรรูป รวมถึงการบริหารจัดการร้านอาหารไทย การตลาด การสร้างตราสินค้า และการออกแบบบรรจุภัณฑ์”
“ศูนย์รสชาติอาหารไทย” เปรียบเสมือนคลังสูตรมาตรฐานรสชาติอาหารไทยที่จะสนับสนุนให้เกิดบริการและรูปแบบธุรกิจใหม่ โดยจะ
เป็นศูนย์กลางในการจัดการและบริการด้านการรับรองมาตรฐานรสชาติอาหารไทยตามมาตรฐานที่ก าหนด การอบรมพ่อครัวแม่ครัวชาว
ไทยและต่างประเทศ และธุรกิจแฟรนไชส์ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงรสส าเร็จรูปที่ปรุงตามสูตรมาตรฐานอาหารไทย ซึ่ง
สามารถเข้ามาช่วยแก้ไขและตอบโจทย์ความต้องการอาหารไทยในต่างแดนต่อไปในอนาคต
เบื้องต้นจะด าเนินการในอาหารไทย 3 รายการ ได้แก่ ต้มย ากุ้ง ผัดไทย และแกงมัสมั่น ซึ่งถือได้ว่าเป็นเมนูอาหารไทยยอดฮิตส าหรับ
ชาวต่างชาติโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการคัดเลือกอาหารไทยทั้ง 3 ชนิด ที่มีรสชาติตรงกับต ารับดั้งเดิมของไทยและได้รับการรับรอง
ความอร่อยจากผู้เชี่ยวชาญด้านการชิมและวิจารณ์อาหารระดับแนวหน้าของประเทศ จากนั้นจึงน าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาวิเคราะห์
ทั้งทางด้านกายภาพและเคมี รวมถึงการตรวจสอบย้อนกลับคุณภาพเพื่อน าผลที่ได้มาก าหนดเป็นมาตรฐานและต ารับมาตรฐานอาหารไทย
ที่ตรงความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ

“ส าหรับในอนาคตมีแนวคิดในการน าเทคโนโลยี Augmented Reality หรือ AR ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริงเข้า
กับโลกเสมือนมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารกับกลุ่มผู้บริโภค เพื่อส่งผ่านคุณประโยชน์ต่อสุขภาพของวัตถุดิบที่น ามาปรุงอาหาร และ
เอกลักษณ์ของอาหารไทยให้ชาวโลกได้มีโอกาสรับรู้และเข้าถึงมากขึ้น เพื่อใช้เป็นจุดขายของอาหารไทย ภายใต้แนวคิด “อาหารไทย
อาหารสุขภาพ”ที่สามารถตอบสนองต่อพฤติกรรมการบริโภคของคนที่เปลี่ยนแปลงไปใส่ใจในสุขภาพและโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงทาง
โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และวิถีการด าเนินชีวิตที่ความเร่งรีบและต้องการความสะดวกสบาย” นายวรวัจน์ฯ กล่าวทิ้งท้าย
น าร่องด้วย 3 เมนูสุดฮิต - ต้มย ากุ้ง ผัดไทย และแกงมัสมั่น

ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) จัดงานเปิดตัว “ศูนย์รสชาติ
อาหารไทย (Thai delicious)” เพื่อสร้างเอกลักษณ์และมาตรฐานของรสชาติอาหารไทยให้ได้คุณภาพ ไม่ผิดเพี้ยนไปจากต ารับ
ดั้งเดิม ภายใต้แนวคิด “อาหารไทยไม่ว่าครัวไหน ก็ต้องมีรสชาติไทยเดียวกัน” พร้อมส่งผ่านรสชาติความอร่อยจากครัวไทยสู่ครัวโลก
อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออกวัตถุดิบส าหรับเป็นส่วนผสมของอาหารไทยได้มากขึ้น สอดคล้องกับ
นโยบายรัฐบาลที่มุ่งเป้าให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารของโลก ในโครงการ “นวัตกรรมครัวไทยสู่ครัวโลก”

นายวรวัจน์เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกล่าวว่า “อาหารไทยถือเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมใน
กว่า 93 ประเทศ และติด 1 ใน 4 อาหารยอดนิยมของโลก ซึ่งจะเห็นได้จากจ านวนร้านอาหารไทยที่กระจายอยู่มากกว่า 20,000 แห่ง
ทั่วโลก โดยในแต่ละปีร้านอาหารไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อปีมากกว่า 6 ล้านบาท ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจมากกว่า 120,000 ล้านบาท”
นายวรวัจน์ฯ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า “ปัจจุบันพบว่าร้านอาหารไทยรวมถึงห้องอาหารไทยในโรงแรมในระดับ 4 และ 5 ดาวในต่างประเทศ
ต่างประสบปัญหาความผิดเพี้ยนของรสชาติอาหารไทยที่แตกต่างไปจากต ารับดั้งเดิม ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว วท. จึงได้ริเริ่มจัดตั้ง
“ศูนย์รสชาติอาหารไทย” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการส าคัญตามนโยบายรัฐบาลที่ต้องการสร้างความตระหนักใน “สูตรมาตรฐานรสชาติ
อาหารไทย” ให้ตรงความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และต้องมีรสชาติไม่ผิดเพี้ยนไปจากต ารับดั้งเดิมของไทย ซึ่งเป็นการน า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของตลาดต่างประเทศ โดยได้มอบหมายให้ สนช. เป็นผู้ด าเนินการบริหารจัดการครอบคลุมตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบ การแปรรูป การเพิ่ม
มูลค่าสินค้าแปรรูป รวมถึงการบริหารจัดการร้านอาหารไทย การตลาด การสร้างตราสินค้า และการออกแบบบรรจุภัณฑ์”
“ศูนย์รสชาติอาหารไทย” เปรียบเสมือนคลังสูตรมาตรฐานรสชาติอาหารไทยที่จะสนับสนุนให้เกิดบริการและรูปแบบธุรกิจใหม่ โดยจะ
เป็นศูนย์กลางในการจัดการและบริการด้านการรับรองมาตรฐานรสชาติอาหารไทยตามมาตรฐานที่ก าหนด การอบรมพ่อครัวแม่ครัวชาว
ไทยและต่างประเทศ และธุรกิจแฟรนไชส์ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงรสส าเร็จรูปที่ปรุงตามสูตรมาตรฐานอาหารไทย ซึ่ง
สามารถเข้ามาช่วยแก้ไขและตอบโจทย์ความต้องการอาหารไทยในต่างแดนต่อไปในอนาคต
เบื้องต้นจะด าเนินการในอาหารไทย 3 รายการ ได้แก่ ต้มย ากุ้ง ผัดไทย และแกงมัสมั่น ซึ่งถือได้ว่าเป็นเมนูอาหารไทยยอดฮิตส าหรับ
ชาวต่างชาติโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการคัดเลือกอาหารไทยทั้ง 3 ชนิด ที่มีรสชาติตรงกับต ารับดั้งเดิมของไทยและได้รับการรับรอง
ความอร่อยจากผู้เชี่ยวชาญด้านการชิมและวิจารณ์อาหารระดับแนวหน้าของประเทศ จากนั้นจึงน าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาวิเคราะห์
ทั้งทางด้านกายภาพและเคมี รวมถึงการตรวจสอบย้อนกลับคุณภาพเพื่อน าผลที่ได้มาก าหนดเป็นมาตรฐานและต ารับมาตรฐานอาหารไทย
ที่ตรงความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ

“ส าหรับในอนาคตมีแนวคิดในการน าเทคโนโลยี Augmented Reality หรือ AR ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริงเข้า
กับโลกเสมือนมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารกับกลุ่มผู้บริโภค เพื่อส่งผ่านคุณประโยชน์ต่อสุขภาพของวัตถุดิบที่น ามาปรุงอาหาร และ
เอกลักษณ์ของอาหารไทยให้ชาวโลกได้มีโอกาสรับรู้และเข้าถึงมากขึ้น เพื่อใช้เป็นจุดขายของอาหารไทย ภายใต้แนวคิด “อาหารไทย
อาหารสุขภาพ”ที่สามารถตอบสนองต่อพฤติกรรมการบริโภคของคนที่เปลี่ยนแปลงไปใส่ใจในสุขภาพและโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงทาง
โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และวิถีการด าเนินชีวิตที่ความเร่งรีบและต้องการความสะดวกสบาย” นายวรวัจน์ฯ กล่าวทิ้งท้าย
เกี่ยวกับประเทศ

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
-
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกล้จะตามมาด้วยการเปิดเสรีด้านการลงทุนในแถบภูมิภาคนี้ซึ่งจะส่งผลต่อการลงทุนมากขึ้นในภูมิภาคนี้อย่างแน่นอน โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความสวยๆ งามๆ...by Editor
-
เวียดนามกำลังสร้างสะพานข้ามทะเลที่ยาวที่สุด เชื่อมพื้นที่ท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศในอนาคต หวังส่งเสริมการขนส่งสินค้าทางเรือ กระทรวงคมนาคมเวียดนามแถลงว่า สะพานความยาว 5.44...by Editor Bow
-
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง นโยบายและทิศทางการพัฒนาฝีมือแรงงานสู่ไทยแลนด์ 4.0 ณ ห้องประชุมปกรณ์ อังศุสิงห์ ชั้น 10 อาคารกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน วันนี้ (17 ต.ค. 59)...by dogTech
-
ประธานธนาคารกลางมาเลเซียกล่าวว่า อัตราดอกเบี้ยต้องทำหน้าที่สนับสนุนเศรษฐกิจ โดยความต้องการภายในประเทศในขณะนี้อยู่ในระดับแข็งแกร่ง...by Spider Show
เรื่องมาใหม่
คำฮิต