ลบ
แก้ไข
เมื่อแยกเป็นรายประเทศพบว่า
1.อินโดนีเซีย ประชากรแรงงานปี 2558 มีจํานวนมากที่สุดที่ 127 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 118 ล้านคน
2. เวียดนาม 52 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 48 ล้านคน
3. ไทย 44 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 40 ล้านคน
4. ฟิลิปปินส์ 40 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 39 ล้านคน
5.เมียนมาร์ 29 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 27 ล้านคน
6. มาเลเซีย 13 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 12 ล้านคน
7. กัมพูชา 9 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 8 ล้านคน
8. ลาว 4 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 3 ล้านคน
9. สิงคโปร์ 3 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 2.5 ล้านคน และ
10.บรูไน 2 แสนคน เท่าเดิมจากปี 2553 โดยสัดส่วนแรงงาน คํานวณในปี 2553 ซึ่งมี 298 ล้านคน แบ่งเป็นชาย 58% หญิง 42%
ส่วนสัดส่วนระหว่างแรงงานมีฝีมือกับแรงงานไร้ฝีมือ เก็บข้อมูลได้ 6 ประเทศ พบว่า ฟิลิปปินส์มีแรงงานมีฝีมือต่อแรงงานไร้ฝีมือ คิดเป็น 9 ต่อ 1 อินโดนีเซีย คิดเป็น 8 ต่อ 2 เวียดนาม คิดเป็น 7 ต่อ 3 กัมพูชา คิดเป็น 3 ต่อ 7 มาเลเซีย คิดเป็น 3 ต่อ 7 และไทย คิดเป็น 2 ต่อ 8 ส่วนบรูไน ลาว
เมียนมาร์ และสิงคโปร์ ไม่สามารถหาข้อมูลได้
นอกจากนี้ ข้อมูลค่าแรงขั้นต่ำ ระบุว่า ประเทศที่ค่าแรงขั้นต่ำสูงสุด คือ สิงคโปร์ อยู่ที่ 62 เหรียญสหรัฐต่อวัน รองลงมาคือ มาเลเซีย 17 เหรียญสหรัฐต่อวัน ฟิลิปปินส์ 11 เหรียญสหรัฐต่อวัน ไทย 10 เหรียญสหรัฐต่อวัน อินโดนีเซีย 5 เหรียญสหรัฐต่อวัน เวียดนาม 3.2 เหรียญสหรัฐต่อวัน ลาวและเมียนมาร์เท่ากัน คือ 3 เหรียญสหรัฐต่อวัน กัมพูชา 2 เหรียญสหรัฐต่อวัน ส่วนบรูไนไม่กําหนดค่าแรงขั้นต่ำ ส่วนแนวโน้มอัตราการว่างงานในอาเซียน พบว่า มีเพียง 5.7% เป็นข้อมูลที่น่าสนใจทีเดียว
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
สถานการณ์แรงงานใน AEC
เมื่อแยกเป็นรายประเทศพบว่า
1.อินโดนีเซีย ประชากรแรงงานปี 2558 มีจํานวนมากที่สุดที่ 127 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 118 ล้านคน
2. เวียดนาม 52 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 48 ล้านคน
3. ไทย 44 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 40 ล้านคน
4. ฟิลิปปินส์ 40 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 39 ล้านคน
5.เมียนมาร์ 29 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 27 ล้านคน
6. มาเลเซีย 13 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 12 ล้านคน
7. กัมพูชา 9 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 8 ล้านคน
8. ลาว 4 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 3 ล้านคน
9. สิงคโปร์ 3 ล้านคน เพิ่มจากปี 2553 อยู่ที่ 2.5 ล้านคน และ
10.บรูไน 2 แสนคน เท่าเดิมจากปี 2553 โดยสัดส่วนแรงงาน คํานวณในปี 2553 ซึ่งมี 298 ล้านคน แบ่งเป็นชาย 58% หญิง 42%
ส่วนสัดส่วนระหว่างแรงงานมีฝีมือกับแรงงานไร้ฝีมือ เก็บข้อมูลได้ 6 ประเทศ พบว่า ฟิลิปปินส์มีแรงงานมีฝีมือต่อแรงงานไร้ฝีมือ คิดเป็น 9 ต่อ 1 อินโดนีเซีย คิดเป็น 8 ต่อ 2 เวียดนาม คิดเป็น 7 ต่อ 3 กัมพูชา คิดเป็น 3 ต่อ 7 มาเลเซีย คิดเป็น 3 ต่อ 7 และไทย คิดเป็น 2 ต่อ 8 ส่วนบรูไน ลาว
เมียนมาร์ และสิงคโปร์ ไม่สามารถหาข้อมูลได้
นอกจากนี้ ข้อมูลค่าแรงขั้นต่ำ ระบุว่า ประเทศที่ค่าแรงขั้นต่ำสูงสุด คือ สิงคโปร์ อยู่ที่ 62 เหรียญสหรัฐต่อวัน รองลงมาคือ มาเลเซีย 17 เหรียญสหรัฐต่อวัน ฟิลิปปินส์ 11 เหรียญสหรัฐต่อวัน ไทย 10 เหรียญสหรัฐต่อวัน อินโดนีเซีย 5 เหรียญสหรัฐต่อวัน เวียดนาม 3.2 เหรียญสหรัฐต่อวัน ลาวและเมียนมาร์เท่ากัน คือ 3 เหรียญสหรัฐต่อวัน กัมพูชา 2 เหรียญสหรัฐต่อวัน ส่วนบรูไนไม่กําหนดค่าแรงขั้นต่ำ ส่วนแนวโน้มอัตราการว่างงานในอาเซียน พบว่า มีเพียง 5.7% เป็นข้อมูลที่น่าสนใจทีเดียว
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
-
ในช่วงที่รัฐบาลประกาศให้เป็นวันหยุดยาวติดต่อกันหลายวันเนื่องในเทศกาลวันเขาพรรษานี้ พบว่าได้มีนักท่องเที่ยวเดินทางไปท่องเที่ยวทางเรือในแม่น้ำโขงชายแดนไทย-สปป.ลาว ด้าน จ.เชียงราย กันอย่างคับคั่ง...by dogTech
-
นายกรัฐมนตรี เข้ารับรางวัลNuclear Industry Summit Awardsในโอกาสเข้าร่วมประชุมระดับผู้นำว่าด้วยความมั่นคงนิวเคลียร์ ครั้งที่ 4...by dogTech
-
กรมเจ้าท่า เร่งดำเนินโครงการพัฒนาท่าเทียบเรือเอนกประสงค์คลองใหญ่ จังหวัดตราด เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าภายในประเทศและระหว่างภูมิภาครองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นายชูเกียรติ รัตนชัยชาญ...by dogTech
-
นางสาวศิรินารถ ใจมั่น อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทย เปิดเผยว่า จะเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการเจรจาการค้าไทย-อินเดีย ครั้งที่ 30 ระหว่างวันที่ 13 - 14 กรกฎาคม 2559 ณ...by dogTech
เรื่องมาใหม่
คำฮิต