ลบ
แก้ไข
นายสมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยผลการวิจัยโครงการพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากร เพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียนในปี 2558 พบว่า บุคลากรทางการศึกษากว่าร้อยละ 70-80 มีความรู้เกี่ยวกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนน้อยมากถึงไม่รู้เลย และไม่รู้ว่านโยบายที่ออกมาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนมีอะไรบ้าง ส่วนการเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อสอบถามผู้อำนวยการสถานศึกษา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระบุว่า ไม่มีงบประมาณสนับสนุนและนโยบายไม่มีกรอบและความชัดเจนว่าจะดำเนินการและ เตรียมการอย่างไร
นอกจากนี้ เมื่อสอบถามนักศึกษาไทย พบว่าเด็ก 8 คนจาก 10 คน ไม่กล้าไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียน เพราะกลัวเรื่องภาษา แต่เมื่อถามเด็กนักศึกษาประเทศอื่นในอาเซียน ทุกคนต้องการเข้ามาทำงานที่เมืองไทย โดยขณะนี้มีการส่งนักศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเรียนในประเทศไทย โดยเฉพาะที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ซึ่งหากเป็นเช่นนี้เมื่อมีการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 จะเริ่มเห็นผลกระทบมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะปัญหานักศึกษาไทยที่จบออกมา จะมีอัตราการตกงานเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้ นายสมพงษ์ ระบุว่า ผมคิดว่าควรจะต้องมีการรื้อระบบหลักสูตรการเรียนการสอนของไทย และประเทศไทยต้องเพิ่มการเรียนรู้เกี่ยวกับข้อมูลของประเทศเพื่อนบ้านให้ เทียบเท่าที่ประเทศอื่นรู้จักประเทศไทย
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก kapook
ชี้เด็กไทย 8 ใน 10 ไม่กล้าทำงานในอาเซียน กลัวเรื่องภาษา
นายสมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์ประจำคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยผลการวิจัยโครงการพัฒนาบุคลากรและผลิตภาพบุคลากร เพื่อรองรับการเปิดเสรีอาเซียนในปี 2558 พบว่า บุคลากรทางการศึกษากว่าร้อยละ 70-80 มีความรู้เกี่ยวกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนน้อยมากถึงไม่รู้เลย และไม่รู้ว่านโยบายที่ออกมาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนมีอะไรบ้าง ส่วนการเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อสอบถามผู้อำนวยการสถานศึกษา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระบุว่า ไม่มีงบประมาณสนับสนุนและนโยบายไม่มีกรอบและความชัดเจนว่าจะดำเนินการและ เตรียมการอย่างไร
นอกจากนี้ เมื่อสอบถามนักศึกษาไทย พบว่าเด็ก 8 คนจาก 10 คน ไม่กล้าไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียน เพราะกลัวเรื่องภาษา แต่เมื่อถามเด็กนักศึกษาประเทศอื่นในอาเซียน ทุกคนต้องการเข้ามาทำงานที่เมืองไทย โดยขณะนี้มีการส่งนักศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเรียนในประเทศไทย โดยเฉพาะที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ซึ่งหากเป็นเช่นนี้เมื่อมีการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 จะเริ่มเห็นผลกระทบมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะปัญหานักศึกษาไทยที่จบออกมา จะมีอัตราการตกงานเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้ นายสมพงษ์ ระบุว่า ผมคิดว่าควรจะต้องมีการรื้อระบบหลักสูตรการเรียนการสอนของไทย และประเทศไทยต้องเพิ่มการเรียนรู้เกี่ยวกับข้อมูลของประเทศเพื่อนบ้านให้ เทียบเท่าที่ประเทศอื่นรู้จักประเทศไทย
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก kapook
เกี่ยวกับประเทศ

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
-
เพลงการ์ตูน อาเซียนร่วมใจ เมื่อรวมทั้ง 10 ประเทศอาเซียนกันเป็น 1 คอยช่วยเหลือพึ่งพากันและกัน ^____________^ เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com เนื้อหาอ้างอิงจากอาเซียนร่วมใจ...by Editor Bow
-
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติร่างแถลงการณ์ร่วมอาเซียน ออสเตรเลียว่าด้วยความร่วมมือในการต่อต้านการก่อการร้ายข้ามชาติ (ASEAN-Australia Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism)...by dogTech
-
จังหวัดน่านจัดการประชุมคณะกรรมการความร่วมมือชายแดนไทย-ลาวครั้งที่ 10 ระหว่างจังหวัดน่าน กับ แขวงไชยบุลี สปป.ลาว เพื่อเสริมความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรไทย กับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยคณะกรรมการฝ่ายไทย นำโดย...by dogTech
-
1.เวลาในอินโดนีเซียแบ่งเป็น 3 เขตเวลา โดยเขตตะวันตกเวลาเทียบเท่ากับประเทศไทย เขตกลางเวลาเร็วกว่าไทย 1 ชั่งโมง และเขตะวันออกเวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง 2.ในอินโดนีเซียใช้จ่ายกันด้วยสกุลเงินรูเปียsN (Rupiah)...by Editor Bow
เรื่องมาใหม่
คำฮิต