ลบ
แก้ไข

การเขียนบทความฉบับนี้จะแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ กล่าวถึงโอกาสของอาเซียน ส่วนที่สองคือความท้าทายที่ต้องฟันฝ่าไปให้ได้ ถามว่าอาเซียนเป็นโอกาสไม่? เป็นโอกาส เพราะตลาดใหญ่ขึ้น จากประชากร (600 ล้านคัน) ที่มีมากขึ้นทำให้เราส่งสินค้าไปขายด้วยภาษีเป็นศูนย์ ย่อมขายได้มากขึ้น อาเซียนยังทำเขตการค้าเสรีกับประเทศอื่นๆ อีก เช่น อาเซียน-จีน อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-ญี่ปุ่น หรือ อาเซียน+3 และอาเซียน+6 เป็นต้น นี้ก็อีกหนึ่งโอกาส อย่างไรก็ตาม
แม้ว่าเราจะมีโอกาส แต่รู้สึกว่าจะมีความท้าทายมากมายเหลือเกิน รวบรวมความท้าทายทั้งหมด 12 ความท้าทาย เริ่มด้วยความท้าทายอันแรกคือ เรื่องข้อมูลเชิงลึกในทุกมิติที่ผู้ประกอบการ SMEs ไทย ยังไม่รู้และที่
สำคัญคือไม่รู้ว่าจะไปหาที่ไหน ข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ ข้อมูลเศรษฐกิจ ประชากร สังคม วัฒนธรรม จำนวนแรงงาน รสนิยมผู้บริโภค จำนวนคู่แข่งหรือสินค้า และส่วนแบ่งตลาดของสินค้าที่เราจะไปขาย ความท้าทายอันที่สองคือ การไม่รู้กฎหมายการค้าและการลงทุน และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของท่าน มีคนอาจจะบอกว่ากฎหมายยากที่จะเข้าใจ ฉะนั้นท่านก็ต้องอ่านเข้าใจเหมือนกัน ตรงนี้ต้องรู้และทำความเข้าใจ ว่าหน้าตากฎหมายการลงทุนและการทำธุรกิจรายละเอียดเป็นอย่างไร แต่หากไม่ไหวจริงๆ ก็จ้างบริษัทกฎหมายให้ดำเนินการทางกฎหมายแทน ความท้าทายที่สามต้องรู้ว่าควรไปทำธุรกิจที่เมืองอะไร และควรเป็นธุรกิจ อะไร ว่าที่นั้นปลอดภัย ในแง่กำลังซื้อ แต่ท่านอย่าลืมว่า ท่านต้องพร้อมรับกับต้นทุนการทำธุรกิจที่สูงด้วยเช่นกัน เช่น ในพม่า อย่ามองเฉพาะย่างกุ้ง อินโดฯ อย่ามองเฉพาะจาการ์ตา เมืองอื่นๆ ที่ใกล้เคียงยังพอให้เราเข้าไปทำธุรกิจได้ คำถามคือ ท่านมีข้อมูลหรือไม่ ความท้าทายที่สี่คือ การทำหุ้นส่วนทางธุรกิจคนท้องถิ่น "ข้อนี้น่าจะหินที่สุด" ในบรรดาความท้าทายทั้งหมด เพราะ SMEs ไทยในขณะนี้ ธุรกิจไม่เกิดเพราะหาหุ้นส่วนทางธุรกิจไม่ได้ หุ้นส่วนที่ไม่ดีคงหาไม่ยาก แต่ที่ดีๆ ที่ไว้เนื้อเชื่อใจหายากมาก เพราะไม่สามารถใช้เวลา วันหรือสองวันเท่านั้น ความท้าทายข้อที่ห้าคือการต้องรู้ต้นทุนในการทำธุรกิจ ได้แก่ ค่าจ้าง ค่าเช่าที่ดิน อาคารสถานที่ ข้อมูลเหล่านี้ต้องมีพร้อมในการตัดสินใจ และไม่ใช่มีเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น ตอนนี้ต้องมีข้อมูลรายเมืองที่สำคัญของประเทศต่างๆ ความท้าทายที่หกคือ เส้นทางโลจิสติกส์ หรือเส้นทางการขนส่ง และโครงสร้างพื้นฐานต้องทราบสถานะความพร้อมของถนน ไฟฟ้า ประปา และปั๊มน้ำมัน เป็นต้น ความท้าทายข้อที่เจ็ด ความพร้อมด้านภาษา โดยอาเซียนการสื่อสารต้องใช้ภาษาอังกฤษ คิดว่าภาษาอังกฤษสำหรับคนไทยน่าจะวิกฤติแล้ว คะแนนสอบโทเฟลของคนไทยต่ ากว่า 500 อยู่ที่ 400 กว่าๆ ซึ่งต่ำที่สุดในอาเซียน สิงคโปร์ได้คะแนนสูงที่สุด นอกจากเราจะไม่พร้อมทางด้านภาษาแล้ว เรายังไม่พร้อมที่จะเรียนและไม่รู้ภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ในขณะที่คนของประเทศเพื่อนบ้าน สามารถพูดภาษาไทยได้ เรื่องภาษานี้ คิดว่าเราต้องรู้ภาษาสามภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และอีกหนึ่งภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน ขึ้นกับว่าเราได้ไปทำธุรกิจที่ประเทศ ไหน ความท้าทายข้อที่แปดคือ มาตรการที่มิใช่ภาษี ที่นับวันจะยิ่งมากขึ้น
แม้ว่าในปี 58 ภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียนจะลดลงเกือบหมด จำนวนสินค้าที่ประเทศอาเซียนต้องลดภาษีในปี 58 มีทั้งหมด 5,000 รายการ ขณะนี้ประเทศอาเซียนเก่าลดลงเกือบทุกรายการ หรือเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ มีเฉพาะในประเทศ CLMV เท่านั้น ที่ยังไม่ลดทั้งหมด การกีดกันของอาเซียนส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการตรวจสอบอย่าง เข้มข้นของหน่วยงานรัฐฯ ด้านคุณภาพสินค้า และความปลอดภัย การติดฉลากด้วยภาษาท้องถิ่น และการให้ไปขนส่งในที่ไกลๆ จากท่าเรือ ซึ่งท าให้สินค้าไทยมีต้นทุนในการขนส่งเพิ่มสูงขึ้น ความท้าทายข้อที่เก้า คือ สิทธิการใช้ประโยชน์จาก AEC ตามกรอบของ AFTA แม้ว่าภาษีสินค้า น าเข้าในอาเซียนจะเป็นศูนย์ก็ตาม แต่ปัจจุบันผู้ประกอบการไทยยังใช้สิทธิประโยชน์เหล่านี้ยังต่ ามาก "ยังไม่ถึง 50 %" ถ้าเป็น อย่างนี้กรอบภาษีเป็นศูนย์ก็ไม่มีประโยชน์ ท าอย่างไรให้นักธุรกิจไทยใช้ประโยชน์จากตรงนี้ให้มากขึ้น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : กรุงเทพธุรกิจ
ความท้าทายของ SMEs ไทยในอาเซียน

การเขียนบทความฉบับนี้จะแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ กล่าวถึงโอกาสของอาเซียน ส่วนที่สองคือความท้าทายที่ต้องฟันฝ่าไปให้ได้ ถามว่าอาเซียนเป็นโอกาสไม่? เป็นโอกาส เพราะตลาดใหญ่ขึ้น จากประชากร (600 ล้านคัน) ที่มีมากขึ้นทำให้เราส่งสินค้าไปขายด้วยภาษีเป็นศูนย์ ย่อมขายได้มากขึ้น อาเซียนยังทำเขตการค้าเสรีกับประเทศอื่นๆ อีก เช่น อาเซียน-จีน อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-ญี่ปุ่น หรือ อาเซียน+3 และอาเซียน+6 เป็นต้น นี้ก็อีกหนึ่งโอกาส อย่างไรก็ตาม
แม้ว่าเราจะมีโอกาส แต่รู้สึกว่าจะมีความท้าทายมากมายเหลือเกิน รวบรวมความท้าทายทั้งหมด 12 ความท้าทาย เริ่มด้วยความท้าทายอันแรกคือ เรื่องข้อมูลเชิงลึกในทุกมิติที่ผู้ประกอบการ SMEs ไทย ยังไม่รู้และที่
สำคัญคือไม่รู้ว่าจะไปหาที่ไหน ข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ ข้อมูลเศรษฐกิจ ประชากร สังคม วัฒนธรรม จำนวนแรงงาน รสนิยมผู้บริโภค จำนวนคู่แข่งหรือสินค้า และส่วนแบ่งตลาดของสินค้าที่เราจะไปขาย ความท้าทายอันที่สองคือ การไม่รู้กฎหมายการค้าและการลงทุน และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของท่าน มีคนอาจจะบอกว่ากฎหมายยากที่จะเข้าใจ ฉะนั้นท่านก็ต้องอ่านเข้าใจเหมือนกัน ตรงนี้ต้องรู้และทำความเข้าใจ ว่าหน้าตากฎหมายการลงทุนและการทำธุรกิจรายละเอียดเป็นอย่างไร แต่หากไม่ไหวจริงๆ ก็จ้างบริษัทกฎหมายให้ดำเนินการทางกฎหมายแทน ความท้าทายที่สามต้องรู้ว่าควรไปทำธุรกิจที่เมืองอะไร และควรเป็นธุรกิจ อะไร ว่าที่นั้นปลอดภัย ในแง่กำลังซื้อ แต่ท่านอย่าลืมว่า ท่านต้องพร้อมรับกับต้นทุนการทำธุรกิจที่สูงด้วยเช่นกัน เช่น ในพม่า อย่ามองเฉพาะย่างกุ้ง อินโดฯ อย่ามองเฉพาะจาการ์ตา เมืองอื่นๆ ที่ใกล้เคียงยังพอให้เราเข้าไปทำธุรกิจได้ คำถามคือ ท่านมีข้อมูลหรือไม่ ความท้าทายที่สี่คือ การทำหุ้นส่วนทางธุรกิจคนท้องถิ่น "ข้อนี้น่าจะหินที่สุด" ในบรรดาความท้าทายทั้งหมด เพราะ SMEs ไทยในขณะนี้ ธุรกิจไม่เกิดเพราะหาหุ้นส่วนทางธุรกิจไม่ได้ หุ้นส่วนที่ไม่ดีคงหาไม่ยาก แต่ที่ดีๆ ที่ไว้เนื้อเชื่อใจหายากมาก เพราะไม่สามารถใช้เวลา วันหรือสองวันเท่านั้น ความท้าทายข้อที่ห้าคือการต้องรู้ต้นทุนในการทำธุรกิจ ได้แก่ ค่าจ้าง ค่าเช่าที่ดิน อาคารสถานที่ ข้อมูลเหล่านี้ต้องมีพร้อมในการตัดสินใจ และไม่ใช่มีเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น ตอนนี้ต้องมีข้อมูลรายเมืองที่สำคัญของประเทศต่างๆ ความท้าทายที่หกคือ เส้นทางโลจิสติกส์ หรือเส้นทางการขนส่ง และโครงสร้างพื้นฐานต้องทราบสถานะความพร้อมของถนน ไฟฟ้า ประปา และปั๊มน้ำมัน เป็นต้น ความท้าทายข้อที่เจ็ด ความพร้อมด้านภาษา โดยอาเซียนการสื่อสารต้องใช้ภาษาอังกฤษ คิดว่าภาษาอังกฤษสำหรับคนไทยน่าจะวิกฤติแล้ว คะแนนสอบโทเฟลของคนไทยต่ ากว่า 500 อยู่ที่ 400 กว่าๆ ซึ่งต่ำที่สุดในอาเซียน สิงคโปร์ได้คะแนนสูงที่สุด นอกจากเราจะไม่พร้อมทางด้านภาษาแล้ว เรายังไม่พร้อมที่จะเรียนและไม่รู้ภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ในขณะที่คนของประเทศเพื่อนบ้าน สามารถพูดภาษาไทยได้ เรื่องภาษานี้ คิดว่าเราต้องรู้ภาษาสามภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และอีกหนึ่งภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน ขึ้นกับว่าเราได้ไปทำธุรกิจที่ประเทศ ไหน ความท้าทายข้อที่แปดคือ มาตรการที่มิใช่ภาษี ที่นับวันจะยิ่งมากขึ้น
แม้ว่าในปี 58 ภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียนจะลดลงเกือบหมด จำนวนสินค้าที่ประเทศอาเซียนต้องลดภาษีในปี 58 มีทั้งหมด 5,000 รายการ ขณะนี้ประเทศอาเซียนเก่าลดลงเกือบทุกรายการ หรือเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ มีเฉพาะในประเทศ CLMV เท่านั้น ที่ยังไม่ลดทั้งหมด การกีดกันของอาเซียนส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการตรวจสอบอย่าง เข้มข้นของหน่วยงานรัฐฯ ด้านคุณภาพสินค้า และความปลอดภัย การติดฉลากด้วยภาษาท้องถิ่น และการให้ไปขนส่งในที่ไกลๆ จากท่าเรือ ซึ่งท าให้สินค้าไทยมีต้นทุนในการขนส่งเพิ่มสูงขึ้น ความท้าทายข้อที่เก้า คือ สิทธิการใช้ประโยชน์จาก AEC ตามกรอบของ AFTA แม้ว่าภาษีสินค้า น าเข้าในอาเซียนจะเป็นศูนย์ก็ตาม แต่ปัจจุบันผู้ประกอบการไทยยังใช้สิทธิประโยชน์เหล่านี้ยังต่ ามาก "ยังไม่ถึง 50 %" ถ้าเป็น อย่างนี้กรอบภาษีเป็นศูนย์ก็ไม่มีประโยชน์ ท าอย่างไรให้นักธุรกิจไทยใช้ประโยชน์จากตรงนี้ให้มากขึ้น
ความท้าทายข้อที่สิบคือ การมีศูนย์กระจายสินค้าไทยในประเทศอาเซียน ประเทศไทยต้องตั้งศูนย์กระจายสินค้าที่เป็นของคนไทย เพื่อให้ผู้บริโภคในอาเซียนสามารถหาซื้อสินค้าไทยได้ตลอดทั้งปี ความท้าทายข้อที่สิบเอ็ด ต้องตั้งกองทุนอาเซียนเพื่อ SMEs ไทย เพื่อให้ผู้ประกอบการไทยเข้าถึงแหล่งทุนได้ง่ายขึ้น เป็น -
"ทางพิเศษ (Fast Track)" ให้กับผู้ประกอบการไทยด้วยดอกเบี้ยต่ าๆ ความท้าทายข้อที่สิบสองคือ "ASEAN Supply Chain" หรือการสร้างเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานสินค้าของอาเซียน นักลงทุนหรือนักธุรกิจไทยต้องเชื่อมโยงและพึ่งพิงประเด็นตรงนี้ให้ได้ ไม่อย่างนั้น เราจะไม่ได้ประโยชน์จากคำว่า "การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียวกัน"
"ทางพิเศษ (Fast Track)" ให้กับผู้ประกอบการไทยด้วยดอกเบี้ยต่ าๆ ความท้าทายข้อที่สิบสองคือ "ASEAN Supply Chain" หรือการสร้างเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานสินค้าของอาเซียน นักลงทุนหรือนักธุรกิจไทยต้องเชื่อมโยงและพึ่งพิงประเด็นตรงนี้ให้ได้ ไม่อย่างนั้น เราจะไม่ได้ประโยชน์จากคำว่า "การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียวกัน"
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : กรุงเทพธุรกิจ

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
-
-
พล.ต. สรรเสริญ แก้วกำเนิด รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ปรารภในช่วงเริ่มต้นการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.)...by dogTech
-
ประเทศลาวที่มีทรัพยากรเยอะ และมีความสำคัญต่อประเทศไทยมาก เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com เนื้อหาอ้างอิงจาก มองโลกแบบวิกรม ตอน ลาว เมืองหน้าด่าน เศรษฐกิจอาเซียน...by Editor Bow
-
แรงงานฝีมือไทยจำนวน 60,000 คน จะได้รับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อเป็นการเตรียมการก่อนจะเข้าเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC ) ผู้อำนวยการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานกล่าวว่า การฝึกอบรมจะเริ่มต้นในปี 2014 ถึง 2016...by dogTech
เรื่องมาใหม่
คำฮิต